ผู้ดูแลระบบ
ติดต่อเรา
หน่วยงานภายใน อย.
สำนักเลขานุการกรม
สำนักยา
สำนักอาหาร
สำนักด่านอาหารและยา
กองควบคุมเครื่องมือแพทย์
กองควบคุมวัตถุเสพติด
กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง
กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย
กองแผนงานและวิชาการ
กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค
กอง คบ.
กลุ่มตรวจสอบภายใน
ก.พ.ร. อย.
ศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ
ศูนย์พัฒนานโยบายแห่งชาติด้านสารเคมี
สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ
One Stop Service Center
ศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียนและปราบปรามการกระทำผิดกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ศรป.)
เกี่ยวกับเรา
เฉพาะเว็บนี้
ทั่วโลก
E-Book เอกสาร อย.
วิจัย
ยา
อาหาร
เครื่องมือแพทย์
เครื่องสำอาง
วัตถุอันตราย
สาธารณสุข
ทั่วไป
กฎหมาย
ยา
อาหาร
เครื่องมือแพทย์
เครื่องสำอาง
วัตถุอันตราย
วัตถุเสพติด
ยาเสพติด
สารระเหย
รวมกฎหมาย อย. เล่มใหม่
กฎหมายฉบับภาษาอังกฤษ
คู่มือ
ยา
อาหาร
เครื่องมือแพทย์
เครื่องสำอาง
วัตถุอันตราย
วัตถุเสพติด
รวมทุกเรื่องและทั่วไป
การดำเนินงาน
ประชุม สัมมนา
วิชาการ คบส. ทั่วไป
E-Book เอกสาร อวช.
ยา
อาหาร
เครื่องสำอาง
เครื่องมือแพทย์
วัตถุอันตราย
วัตถุเสพติด
ด้านอื่นๆ
เอกสารตามหน่วยงาน
สำนักงานเลขานุการกรม
สำนักยา
สำนักอาหาร
สำนักด่านอาหารและยา
กองควบคุมเครื่องมือแพทย์
กองควบคุมวัตถุเสพติด
กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง
กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย
กองแผนงานและวิชาการ
กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค
กอง คบ.
ศพช.
กลุ่มกฎหมายอาหารและยา
กลุ่มตรวจสอบภายใน
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ
ศูนย์พัฒนานโยบายแห่งชาติด้านสารเคมี
สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ
One Stop Service Center
ทรัพยากรสารสนเทศอื่นๆ
มุมโสตทัศนวัสดุ
CD-ROM
TAPE
VDO
มุมสุขภาพ
มุมธรรมะ
มุมบันเทิง
แบบสำรวจความคิดเห็น
ความรวดเร็วในการ
สืบค้นข้อมูล
ช้ามาก
ช้า
ปานกลาง
เร็ว
ความน่าสนใจของข้อมูล
ควรปรับปรุง
พอใช้
ดี
ดีมาก
ผู้ให้ข้อมูล
บุคลากรกระทรวง สธ.
บุคคลภายนอก
ความคิดเห็น อื่นๆ
229310
-ใส่ตัวเลขที่เห็น
เก็บหน้านี้ไว้ใน Favorites
ผู้ใช้ขณะนี้
85
SELECT * FROM tabnews Where Id= 48721
ข่าวประจำวัน : โรคไข้ซิกา และ โรคไข้เลือดออก อันตรายจากยุงลาย วายร้ายตัวจิ๋ว
เผยแพร่:
13 ก.ย. 2561 11:03
โดย: ผู้จัดการออนไลน์
อ.นพ.สุสัณห์ อาสนะเสน
ภาควิชาอายุรศาสตร์
สัตว์ตัวจิ๋วที่บินไปมา พบเห็นบ่อย ๆ แต่แฝงไปด้วยอันตรายรอบตัวอย่างเจ้า ยุงลาย พาหะนำ โรคไข้ซิกา และ โรคไข้เลือดออก ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพที่นำความเจ็บป่วยไม่สบายมายังมนุษย์ บางรายอาจถึงแก่ชีวิต ถ้าไม่รับการรักษาอย่างทันท่วงที วันนี้เราจะพาท่านไปรู้จักกับโรคทั้งสอง เริ่มด้วย...
โรคไข้ซิกา
ปัจจุบันพบผู้ติดเชื้อไวรัสซิกาในหลายจังหวัดของประเทศไทย ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้โรคนี้เป็นหนึ่งในโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ที่เมื่อใดพบผู้ป่วยจะต้องแจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อทุกครั้ง
โรคไข้ซิกาเกิดจากการติดเชื้อไวรัสซิกา ซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี่ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค โดยทั่วไปยุงลายเพศเมียจะกัด ในช่วงเช้า หรือ เย็นจนถึงพลบค่ำ ระยะฟักตัวของโรคประมาณ 3-14 วันหลังจากถูกยุงลายที่มีเชื้อกัด
การติดต่อ เกิดจากการถูกยุงลายที่มีเชื้อไวรัสซิกากัด นอกจากนี้ยังอาจติดต่อได้ทางเลือด การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่ติดเชื้อ หรือ แพร่จากมารดาที่ป่วยไปสู่ทารกในครรภ์
อาการ ที่พบบ่อย ได้แก่ มีไข้ มีผื่นแดง เยื่อบุตาอักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ซึ่งโดยปกติแล้วอาการเหล่านี้จะเป็นเพียงเล็กน้อย ไม่รุนแรง และเป็นอยู่ประมาณ 2-7 วัน ยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์ บางรายอาจทำให้เด็กทารกที่คลอดออกมามีภาวะศีรษะเล็กได้
กลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสซิกามากที่สุด คือ กลุ่มสตรีตั้งครรภ์ หากติดเชื้อแล้ว อาจทำให้ทารกในครรภ์ได้รับอันตราย เกิดความพิการแต่กำเนิด คือ เด็กจะมีศีรษะเล็กกว่าปกติ (microcephaly) และอาจส่งผลทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด หรือ เกิดการแท้งตามได้ ดังนั้นหากหญิงตั้งครรภ์มีอาการไข้ ออกผื่น ตาแดง ปวดข้อ หรืออาการที่สงสัยว่าอาจเป็นโรคนี้ ควรมารับการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค
นอกจากนี้ ผู้ใหญ่ หรือ เด็กโต บางรายที่ป่วยอาจมีอาการ ชาปลายมือปลายเท้า ร่วมกับ อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึ่งเป็นผลจากปลอกหุ้มเส้นประสาทหลายเส้นอักเสบเฉียบพลัน แทรกซ้อนตามมาได้
การรักษาทำได้ด้วยการพักผ่อนให้เพียงพอ และรักษาตามอาการ เช่น ใช้ยาพาราเซตามอลเพื่อลดไข้หรือบรรเทาอาการปวด ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคไข้ซิกาโดยเฉพาะ
วิธีป้องกัน โรคไข้ซิกาสามารถป้องกันได้ เพียงระมัดระวังไม่ให้ยุงกัด โดย นอนกางมุ้ง หรือ ติดมุ้งลวดป้องกันยุงเข้าบ้าน สวมเสื้อแขนยาว กางเกงขายาวให้มิดชิด กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายโดยการทำความสะอาด เทน้ำในภาชนะทิ้ง หรือ ปิดฝาภาชนะที่สามารถบรรจุน้ำได้ เช่น กระถางต้นไม้ เพื่อป้องกันน้ำขังอันจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ใช้สารทาป้องกันยุงกัด กรณีในหญิงตั้งครรภ์ ให้ใช้สารทาป้องกันยุงที่มีส่วนประกอบสำคัญ เช่น DEET ความเข้มข้น 10-30% ตามคำแนะนำของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (ก่อนซื้อสังเกตที่ฉลาก )
ผู้ที่ปวยแล้วจะลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อได้หรือไม่ ผุ้ป่วยสามารถลดการแพร่เชื้อได้โดย
1. ปฏิบัติตามมาตรการเพื่อป้องกันไม่ให้ยุงกัดเป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ หลังจากเริ่มมีอาการไม่สบาย เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวอาจมีเชื้อเหลืออยู่ในกระแสเลือดหากถูกยุงกัดในช่วงนี้จะสามารถแพร่กระจายเชื้อให้ผู้อื่นได้
2. เพื่อลดการแพร่เชื้อทางเพศสัมพันธุ์ ควรหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธุ์ หรือ ใช้ถุงยางอนามัย ผู้ป่วยชาย เป็นระยะเวลา 3-6 เดือน และ ผู้ป่วยหญิง เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 เดือน
(ยังมีต่อ...โรคไข้เลือดออก)
https://mgronline.com/qol/detail/9610000091760
ข่าวประจำวัน : 14 September 2018
แหล่งที่มา
ผู้จัดการ
อ่าน 30
ย้อนกลับ
คู่มือการใช้งาน
ระบบสืบค้นข้อมูล
จำนวนผู้เยี่ยมชม
since 21/02/44
ศูนย์วิทยบริการ
ชั้น 4 อาคาร 3 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง นนทบุรี 11000
library@fda.moph.go.th Ω